วันศุกร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2555

ระบบคอมพิวเตอร์


ระบบคอมพิวเตอร์
            
               หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆกับข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช้งานให้มากที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี ระบบทะเบียนราษฎ์ ระบบทะเบียนการค้า ระบบเวชระเบียนของโรงพยาบาล เป็นต้น

          การเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้สามารถเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบจากการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
  ระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพจะประกอบด้วย 4 ส่วน ดังนี้

1. ฮาร์แวร์ (Hardware) หรือส่วนเครื่อง
2. ซอฟแวร์ หรือส่วนชุดคำสั่ง
3. ข้อมูล
4.บุคคลากร

ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
                หมายถึง ตัวเครื่องและอุปกรณ์ส่วนต่างๆที่เราสามารถสัมผัสและจับต้องได้ ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย 4 ส่วน สำคัญ ดังนี้

1.ส่วนประมวลผล(Processor)
2.ส่วนความจำ(Memory)
3.อุปกรณ์รับเข้าระส่งออก(Input-Output Devices)
4.อุปกรณืหน่วยเก็บข้อมูล(Storage Devices)

1.ส่วนประมวลผล(Processor) CPU

          เป็นอุปกรณ์ที่เปรียบเสมือนสมอง  มีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ ประมวลผลและเปรียบเทียบ้อมูลโดยทำการเปลียนแปลงข้อมูลดิบและแปลงให้เป็นสารสนเทศที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ความสามารถของ ซีพียู พิจารณาจากความเร็วของการทำงาน การรับส่งข้อมูลอ่านและเขียนข้อมูลในหน่วยความจำ ความเร็วของ ซีพียูขึ้นอยู่กับตัวให้จังหวะที่เรียกว่า สัญญาณนาฬิกาเป็ฯความเร็วของจำนวนรอบสัณญาณในหนึ่งวินาที มีหน่ววยเป็น เฮิร์ต(Hertz) เช่น สัญญาณความเร็ว 1 ล้านรอบใน 1 วินาที เทียบเท่าความเร็วสัญญาณนาฬิกา 1 จิกะเฮิร์ต(1GHz)


ส่วนที่ 2 หน่วยความจำ(Memory)     จำแนกออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้

1. หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
2.หน่วยความจำสำรอง(Secondary Memory)

1. หน่วยความจำหลัก (Main Memory)

            เป็นหน่วยเก็บข้อมูลและคำสั่งต่างๆของเครื่องคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย ชุดความจำของข้อมูลที่สามารถบอกตำแหน่งที่เก็บข้อมูลหริอคำสั่ง ข้อมูลจะถูกนำไปเก็ฐไว้และสามารถนำออกมาใช้ในการประมวลผล ภายหลัง โดย ซีพียู ทำหน้าที่ในการนำข้อมูลเข้าและออกจากหน่วยความจำ
           การทำงานของคอมพิวเตอร์ในหน่วยความจำหลักต้องใช้พื้นที่ของหน่วยความจำในการทำงานประมวลผลและเก็บข้อมูล ขนาดของความจุของหน่วยความจำ คำนวณได้จากค่าจำนวณพื้นที่ที่สามารถใช้ในการเก็บข้อมูล จำนวนพื้นที่คือจำนวนข้อมูล และขนาดของโปรแกรมที่สามารถเก็บข้อมูลได้สูงสุด พื้นที่หน่วยความจำมีมากจะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วมากยิ่งขึ้น

หน่วยประมวลผลกลาง(CPU)
             
           หน่วยประมวลผลกลางCPU มีความหมายทางด้านฮาร์ดแวร์ 2 อย่าง คือ
1. ชิป(chip) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์
2.ตัวกล่องเครื่องที่มี CPU บรรจุอยู่

1.หน่วยความจำหลัก
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ แรม(RAM)และ รอม(ROM)

1.1หน่วยความจำแบบ แรม
(RAM=Random Access Memory)
เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูล ข้อมูลหรือแฟ้มข้อมูลจะถูกเก็บไว้ชั่วคราวขณะทำงาน ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำจะอยู่ได้นานจนกว่าจะปิดเครื่องหรือไม่มีกระแสไฟฟ้าให้กับเครื่องเราเรียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่า หน่วยความจำแบบลบเลือนได้(Volatile Memory )




1.2 หน่วยความจำแบบ "รอม"ROM=Read Only
เป็นหน่วยความจำที่ที่ใช้เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลพื้นฐานเกียวกับคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่ถาวรไม่ขึ้นแบบไฟฟ้าที่ป้อนให้กับวงจร ที่ยอมให้ ซีพียู อ่านข้อมูลหรือโปรแกรมไปใช้งานอย่างเดียวไม่สามารถเขียนข้อมูลลงไปได้เก็บไว้โดยง่ายส่วนใหญ่ใช้เก็บโปรแกรมควาบคุม เราเรียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่าหน่วยความจำแบบไม่ลบเลือน (Nonvolatile Memory)



 หน่วยความจำรอง

คือ    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้  แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์  ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้  ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง
             นอกจากนี้ หน่วยความจำรอง  สามารถเพิ่มขนาดความจุได้ เนื่องจากหน่วยความจำหลักจะมีขนาดความจุจำกัด
             หน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้
            หน่วยประมวลผลจะเรียกใช้ข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำรอง  ได้จะช้ากว่า หน่วยความจำหลัก
1.มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม  เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก
2.ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือสำรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
3.เป็นสื่อในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องนึงไปยังงอีกเครื่องนึง

ตัวอย่าง หน่วยความจำรอง
    ฮาร์ดิส               แฮนดี้ไดส์              แผ่นดิส์                       
mp 4             mp 3


ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง

             จะแก้ไขปัญหาการสูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผล เมื่อเรียบร้อยแล้วผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บในหน่วยความจำหลักประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้า อาจทำให้ข้อมูลสูญหายจึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำสำรอง เพื่อนำข้อมูลจากหน่วความจำแรมมาเก็บไว้ที่ใช้งานในเคื่องต่อไปหน่วยความจำประเภทนี้ส่วนใหญ่จะพบในรูปของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลภายนอก เช่น ฮาร์ดดิกส์ แผ่นบันทึก ซิปดิกส์  หน่วยความจำสำรองนี้ถึงจะไม่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์แต่เครื่องคอมพิวเตรอร์ก็ยังสามารถทำงานได้ปกติ

ส่วนแสดงผลข้อมูล

              คือส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางที่แสดงผลข้อมูลได้แ จอภาพ(Monitor) หริอ (Screen) เครืองพิมพ์(Printer) เคร่องพิมพ์ภาพ(Ploter) และ ลำโพง(Speaker) เป็นต้น




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น